• +662 441 5000
  • This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
ความชอบถิ่นที่อยู่อาศัยของวัวแดง (Bos javanicus) ที่ปล่อยคืนสู่ธรรมชาติบริเวณพื้นที่ตอนกลางและพื้นที่ขอบของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ ประเทศไทย

The Preferred Habitat of Reintroduced Banteng (Bos javanicus) at the Core and the Edge of Salakphra Wildlife Sanctuary, Thailand

รศ.ดร.รัตนวัฒน์ ไชยรัตน์

คำสำคัญ : วัวแดง (Bos javanicus) พื้นที่ใช้ประโยชน์ กล้องดักถ่ายภาพสัตว์ป่า เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ แบบจำลองการกระจายของชนิด

Source: Journals Animals; Volume 13; Issue 14

https://www.mdpi.com/2076-2615/13/14/2293


การพัฒนาขั้วไฟฟ้าทังสเตนออกไซด์และบิสมัทวานาเดทเพื่อผลิตพลังงานไฮโดรเจนและย่อยสลายกลีเซอรอลในกระบวนการแยกน้ำด้วยไฟฟ้าเคมีทางแสง

Dual functional WO3/BiVO4 heterostructures for efficient photoelectrochemical water splitting and glycerol degradation

ผศ.ดร.เพียงใจ พีระเกียรติขจร

คำสำคัญ ทังสเตนออกไซด์ บิสมัทวานาเดท ไฮโดรเจน กลีเซอรอล กระบวนการแยกน้ำด้วยไฟฟ้าเคมีทางแสง

Source: RSC Advances  Issue 27, 2023

https://pubs.rsc.org/en/content/articlelanding/2023/ra/d3ra02691d


การฟื้นตัวหลังการเผาแปลงไร่หมุนเวียนของอินทรีย์คาร์บอน ไนโตรเจนทั้งหมด ธาตุอาหารในดิน และความคงทนต่อการชะล้างพังทลายของดิน ในภาคเหนือของประเทศไทย

Post-fire recovery of soil organic carbon, soil total nitrogen, soil nutrients, and soil erodibility in rotational shifting cultivation in Northern Thailand

รศ.ดร.นพพล อรุณรัตน์, ผศ.ดร.สุกัญญา เสรีนนท์ชัย

คำสำคัญ: ชาวเขา ไฟ การฟื้นฟูดิน คุณสมบัติของดิน การจัดการที่ดินหลังการเผา

Source: Front. Environ. Sci., 27 March 2023 Sec. Soil Processes; Volume 11 - 2023

https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/fenvs.2023.1117427/full


สมบัติของถ่านชีวภาพจากแกลบและผลของขนาดอนุภาคถ่านชีวภาพต่อสมบัติของดินร่วนปนทราย

Characterization of Rice Husk Biochar and Its Particle Size Effects on Soil Properties in Sandy Loam Soil

ผศ.ดร.วันวิสาข์ ปั้นศักดิ์

คำสำคัญ : ถ่านชีวภาพ แกลบ ไนโตรเจนในดิน ดินร่วนปนทราย

SDGs:   Source:  GMSARN International Journal

http://gmsarnjournal.com/home/journal-vol-17-no-4/


บันทึกการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและกิจกรรมมนุษย์ต่อป่าชายเลนในพื้นที่ชายฝั่งกรุงเทพฯ  อ่าวไทยตอนบนในช่วง 1000 ปีที่ผ่านมา

Documenting a thousand years of environmental and anthropogenic changes on mangroves on the Bangkok coast, the upper Gulf of Thailand

ผศ.ดร. ปรมิตา พันธ์วงศ์

คำสำคัญ : ป่าชายเลน  พื้นที่ชุ่มน้ำ ระดับน้ำทะเล

Source: Vegetation History and Archaeobotany volume 32, pages17–34 (2023)

https://link-springer-com.ejournal.mahidol.ac.th/article/10.1007/s00334-022-00876-z


เกษตรในเมืองในประเทศไทย: ปัจจัยการยอมรับและแนวทางการสื่อสารเพื่อส่งเสริมการปฏิบัติในระยะยาว

Urban Agriculture in Thailand: Adoption Factors and Communication Guidelines to Promote Long-Term Practice

รศ.ดร.นพพล อรุณรัตน์, ผศ.ดร.สุกัญญา เสรีนนท์ชัย

คำสำคัญ: เกษตรในเมือง ประเทศไทย ปัจจัยการยอมรับ แนวทางการสื่อสาร การปฏิบัติในระยะยาว

Source : Journals  IJERPH  Volume 20  Issue 1 (2023)

https://www.mdpi.com/1660-4601/20/1/1


  1. ความหลากหลายชนิดไม้ยืนต้น มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และการกักเก็บคาร์บอนของป่าต้นน้ำในจังหวัดพะเยา ประเทศไทย
  2. ประเทศไทยพบพืชสมุนไพรเสี่ยงสูญพันธุ์จากจีน “ดาดหินทราย” มีเขตการกระจายพันธุ์ใหม่แถบภาคเหนือ และเป็นพืชชนิดย่อยใหม่ในไทย
  3. การใช้ภูมิทัศน์ที่มีมนุษย์อาศัยเป็นหลักเพื่อเป็นแนวเชื่อมต่อระหว่างถิ่นที่อยู่ที่แยกจากกันของช้างป่าเอเชีย (Elephas maximus) ในภาคตะวันออกของประเทศไทย
  4. การประเมินประสิทธิภาพของ CMIP6 GCMs เพื่อจำลองปริมาณน้ำฝนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  5. สัดส่วนที่สำคัญของแหล่งความชื้นต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อปริมาณน้ำฝนในอิหร่าน โดยใช้การวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์และเทคนิคการทำให้ระบบคอมพิวเตอร์เรียนรู้ด้วยตนเอง
  6. โครงสร้างประชากรและการกระจายพันธุ์ไม้ ในพื้นที่ป่าดิบเขาตอนล่าง อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ภาคเหนือของประเทศไทย
ขั้นตอนปฏิบัติ

ขั้นตอนปฏิบัติ

เพื่อให้ผู้มาขอให้บริการเข้าใจขั้นตอนต่างๆ ในการขอรับบริการงานบริหารงานวิจัยจึงได้รวบรวมขั้นตอนการทำงาน (Workflow) ไว้สำหรับทุกท่าน
ดูขั้นตอนต่างๆ ในการขอรับบริการ
This image for Image Layouts addon

แบบสำรวจข้อมูล

แบบสำรวจข้อมูลเพื่อนำไปสู่การค้นหาทุนที่เหมาะสมกับความเชี่ยวชาญของนักวิจัย
เข้าสู่แบบสำรวจ
© 2024 Faculty of Environment and Resource Studies, Mahidol University . All Rights Reserved.