• +662 441 5000
  • This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
บันทึกการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและกิจกรรมมนุษย์ต่อป่าชายเลนในพื้นที่ชายฝั่งกรุงเทพฯ  อ่าวไทยตอนบนในช่วง 1000 ปีที่ผ่านมา

Documenting a thousand years of environmental and anthropogenic changes on mangroves on the Bangkok coast, the upper Gulf of Thailand

ผศ.ดร. ปรมิตา พันธ์วงศ์

คำสำคัญ : ป่าชายเลน  พื้นที่ชุ่มน้ำ ระดับน้ำทะเล

Source: Vegetation History and Archaeobotany volume 32, pages17–34 (2023)

https://link-springer-com.ejournal.mahidol.ac.th/article/10.1007/s00334-022-00876-z


เกษตรในเมืองในประเทศไทย: ปัจจัยการยอมรับและแนวทางการสื่อสารเพื่อส่งเสริมการปฏิบัติในระยะยาว

Urban Agriculture in Thailand: Adoption Factors and Communication Guidelines to Promote Long-Term Practice

รศ.ดร.นพพล อรุณรัตน์, ผศ.ดร.สุกัญญา เสรีนนท์ชัย

คำสำคัญ: เกษตรในเมือง ประเทศไทย ปัจจัยการยอมรับ แนวทางการสื่อสาร การปฏิบัติในระยะยาว

Source : Journals  IJERPH  Volume 20  Issue 1 (2023)

https://www.mdpi.com/1660-4601/20/1/1


ความหลากหลายชนิดไม้ยืนต้น มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และการกักเก็บคาร์บอนของป่าต้นน้ำในจังหวัดพะเยา ประเทศไทย

Species Diversity, Aboveground Biomass, and Carbon Storage of Watershed Forest in Phayao Province, Thailand

วารินทร์ บุญเรียม

เจ้าหน้าที่วิจัย ศูนย์ลำปางฯ

คำสำคัญ : ความหลากหลายของต้นไม้ มวลชีวภาพของต้นไม้ การกักเก็บคาร์บอน ป่าเขตร้อนตามฤดูกาล พะเยา

Source:  ENVIRONMENT AND NATURAL RESOURCES JOURNAL, Vol. 21 No. 1 (2023): Jan-Feb

https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/ennrj/article/view/247662


ประเทศไทยพบพืชสมุนไพรเสี่ยงสูญพันธุ์จากจีน “ดาดหินทราย” มีเขตการกระจายพันธุ์ใหม่แถบภาคเหนือ และเป็นพืชชนิดย่อยใหม่ในไทย

Begonia fimbristipula subsp. siamensis (sect. Diploclinium, Begoniaceae), a new taxon of the megadiverse genus endemic to Thailand

ผศ.ดร.ธรรมรัตน์ พุทธไทย

Source: PhytoKeys ; Vol. 218 ; Jan 2023

https://phytokeys.pensoft.net/article/85699

Key word: China, endemic, new subspecies, taxonomy, Thailand

คำสำคัญ : พืชชนิดใหม่ ดาดหินทราย ประเทศไทย


การใช้ภูมิทัศน์ที่มีมนุษย์อาศัยเป็นหลักเพื่อเป็นแนวเชื่อมต่อระหว่างถิ่นที่อยู่ที่แยกจากกันของช้างป่าเอเชีย (Elephas maximus) ในภาคตะวันออกของประเทศไทย

Use of Human Dominated Landscape as Connectivity Corridors among Fragmented Habitats for Wild Asian Elephants (Elephas maximus) in the Eastern Part of Thailand

รศ.ดร. รัตนวัฒน์ ไชยรัตน์

คำสำคัญ : ความขัดแย้งระหว่างคนกับช้าง ช้างป่าเอเชีย ทางเดินช้าง

Source: Diversity;  Volume 15 ; Issue 1

https://www.mdpi.com/1424-2818/15/1/6


การประเมินประสิทธิภาพของ CMIP6 GCMs เพื่อจำลองปริมาณน้ำฝนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Evaluation of CMIP6 GCMs performance to simulate precipitation over Southeast Asia

ผศ.ดร. กฤตณะ พฤกษากร

คำสำคัญ : แบบจำลองภูมิอากาศโลก; โครงการเปรียบเทียบระหว่างแบบจำลอง ระยะที่ 6; หยาดน้ำฟ้า; การจัดอันดับแบบจำลอง; เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Source: Atmospheric Research

Volume 282, February 2023, 106522

https://www-sciencedirect-com.ejournal.mahidol.ac.th/science/article/pii/S0169809522005087


  1. สัดส่วนที่สำคัญของแหล่งความชื้นต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อปริมาณน้ำฝนในอิหร่าน โดยใช้การวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์และเทคนิคการทำให้ระบบคอมพิวเตอร์เรียนรู้ด้วยตนเอง
  2. โครงสร้างประชากรและการกระจายพันธุ์ไม้ ในพื้นที่ป่าดิบเขาตอนล่าง อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ภาคเหนือของประเทศไทย
  3. คาร์บอนอินทรีย์ในดินและความคงทนต่อการชะล้างพังทลายของดินภายใต้การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในภาคเหนือของประเทศไทย
  4. การผลิตไฮโดรเจนและมีเทนจากการหมักย่อยร่วมระหว่างน้ำน้ำกากส่าและกลีเซอรอลเหลือทิ้งด้วยกระบวนการหมักไร้แสงร่วมกับเซลล์อิเล็กโทรไลซิสจุลชีพ
  5. ความหลากหลายและองค์ประกอบชุมชนของจุลินทรีย์ในดิน ในระบบการเลี้ยงปลาร่วมกับการปลูกข้าว (rice–fish co-culture) และการปลูกข้าวเพียงอย่างเดียว (rice monoculture)
  6. การคาดการณ์ดัชนีปริมาตรตะกอนในโรงบำบัดน้ำเสียโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียม
ขั้นตอนปฏิบัติ

ขั้นตอนปฏิบัติ

เพื่อให้ผู้มาขอให้บริการเข้าใจขั้นตอนต่างๆ ในการขอรับบริการงานบริหารงานวิจัยจึงได้รวบรวมขั้นตอนการทำงาน (Workflow) ไว้สำหรับทุกท่าน
ดูขั้นตอนต่างๆ ในการขอรับบริการ
This image for Image Layouts addon

แบบสำรวจข้อมูล

แบบสำรวจข้อมูลเพื่อนำไปสู่การค้นหาทุนที่เหมาะสมกับความเชี่ยวชาญของนักวิจัย
เข้าสู่แบบสำรวจ
© 2024 Faculty of Environment and Resource Studies, Mahidol University . All Rights Reserved.