• +662 441 5000
  • This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

Conservation of green area in Wat Pas: A case study of Ubon Ratchathani province.

Project Title: Conservation of green area in Wat Pas: A case study of Ubon Ratchathani province.

การอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวในวัดป่า กรณีศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี

Researcher(s): Assoc. Prof. Sura Pattanakiat (Project manager), Assist. Prof. Thamarat Phutthai (Co-researcher), Uthaiwan Phewphan (Co-researcher)

Affiliation: Faculty of Environment and Resource Studies, Mahidol University

Research Details (In Brief):
This research involves the study of green areas within Wat Pas (forest monastery) in Ubon Ratchathani Province. Temporary plots were placed within the forest monastery study area, 20 meters by 50 meters in size, to study plant communities across 14 plots (13 forest monasteries). The findings suggests that the plant communities within the study areas can be classified into 2 main types, namely dry evergreen forest and dry dipterocarp forest. A list of forest monastery names, dominant species and diversity based on the Shannon-Weiner index, are shown in table 1

Table 1. Dominant species and diversity index within each forest monastery

In addition, the assessment of plant species within the green areas of the forest monasteries, using the International Union for Conservation of Nature (IUCN), found that there are 30 species of plants out of a total of 171 species that are on the IUCN red list. A majority of the species of plants are in the Dipterocarpaceae and Fabaceae family. These can be categorized in accordance to risk levels as Critically endangered (CR), Endangered (EN), Vulnerable (VU), Near threatened (NT) and Least concerned (LC). The status for each plant species, listed from CR to VU, are shown in table 2.

Table 2. Plant species status under the IUCN red list

ชื่อโครงการวิจัย: การอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวในวัดป่า กรณีศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี

ชื่อผู้วิจัย: รองศาสตราจารย์ ดร.สุระ พัฒนเกียรติ (หัวหน้าโครงการ), ผศ.ดร.ธรรมรัตน์ พุทธไทย (ผู้ร่วมวิจัย), อุทัยวรรณ ผิวพรรณ (ผู้ร่วมวิจัย)

ส่วนงาน: คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายละเอียดผลงานวิจัย (โดยย่อ):
การศึกษาวิจัยนี้ได้ทำการสำรวจพื้นที่สีเขียวในวัดป่าโดยทำการวางแปลงชั่วคราวเพื่อศึกษาสังคมพืชในพื้นที่วัดป่า ขนาด 20x50 เมตร จำนวน 14 แปลง (13 วัด) สามารถจำแนกสังคมพืชออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง และ ป่าเต็งรัง โดยแสดงรายชื่อวัด พรรณไม้เด่น และดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 พรรณไม้เด่นและดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener ในแต่ละวัดป่า

 นอกจากนั้น ทำการประเมินสถานภาพของพืชที่อยู่ในพื้นที่สีเขียวของวัดป่า โดยใช้หลักเกณฑ์ของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติหรือ IUCN พบว่ามีพรรณไม้ที่อยู่ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ หรือ IUCN red list จำนวน 30 ชนิด จากพรรณไม้ทั้งหมด 171 ชนิด ส่วนใหญ่อยู่ในวงศ์ Dipterocarpaceae และ Fabaceae สามารถแบ่งออกได้ตามระดับความเสี่ยงคือ ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง (Critically endangered; CR) ใกล้สูญพันธุ์ (Endangered; EN) มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (Vulnerable; VU) ใกล้ถูกคุกคาม (Near threatened; NT) และ มีความเสี่ยงน้อย (Least concerned; LC) โดยตารางที่ 2 แสดงสถานภาพของพันธุ์พืชในระดับ CR ถึง VU

สถานภาพของพันธ์พืชตามหลักเกณฑ์ IUCN

การติดต่อ:
รองศาสตราจารย์ ดร.สุระ พัฒนเกียรติ
โทรศัพท์ 02-441-5000 ต่อ 1221 หรือ 3344 อีเมล This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.


© 2024 Faculty of Environment and Resource Studies, Mahidol University . All Rights Reserved.