• +662 441 5000
  • This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

The Effect of Soil Amendments on the Uptake of Cadmium by Rice

ผลของสารปรับปรุงดินต่อการดูดซับแคดเมียมของต้นข้าว
The Effect of Soil Amendments on the Uptake of Cadmium by Rice

นักวิจัย : ดร.ชิษณุพงศ์ ประทุม

This study aims to determine the type of the effective soil amendments for cadmium absorption in the paddy soil. It also investigated the amount of cadmium accumulation in various parts of the rice plants. The research methodology was performed in Completely Randomized Design (CRD), which three replications. The Suphanburi 1 rice variety and 4% of soil amendments (pig manure, dairy cow manure, poultry manure - rice husk, organic compost, and vermicompost) were used for this study. The cadmium contents in each the paddy soil samples were 20, 40, and 60 mg/kg dry weight, respectively. The results found that the rice plants cannot grow wither and die on the 70th day of cultivation at 4% of dairy cow manure and pig manure. In addition, poultry manure - rice husk was highly effective for cadmium adsorption in the paddy soil. Whereas, organic compost can stimulate the roots of the rice plants to absorb cadmium in soil were more. This reduces the accumulation of cadmium in stems, leaves, and especially rice grain. In part of, the investigation of the amount of cadmium accumulation in various parts of the rice plants found that the cadmium accumulation in roots > stems > leaves > rice grain, respectively.

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดของสารปรับปรุงดินที่มีประสิทธิภาพในการดูดซับแคดเมียมไว้ในดินนา และศึกษาปริมาณแคดเมียมที่มีการสะสมในส่วนต่าง ๆ ของต้นข้าว โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ จำนวน 3 ซ้ำ ซึ่งใช้ข้าวเจ้าสายพันธุ์สุพรรณบุรี 1 ปลูกในดินนาที่มีการผสมสารปรับปรุงดินร้อยละ 4 ได้แก่ มูลสุกร, มูลโคนม, มูลไก่แกลบ, ปุ๋ยหมัก และมูลไส้เดือน และมีความเข้มข้นของแคดเมียม 3 ระดับ ได้แก่ 20, 40 และ60 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ผลการศึกษาพบว่าที่ความเข้มข้นร้อยละ 4 ของมูลสุกร และมูลโคนม ต้นข้าวไม่สามารถเจริญเติบโต และแห้งตายลงในวันที่ 70 ของการเพาะปลูก ส่วนมูลไก่แกลบมีประสิทธิภาพสูงสุดในการดูดซับแคดเมียมไว้ในดินนา ขณะที่ปุ๋ยหมักสามารถกระตุ้นให้รากของต้นข้าวดูดซึมแคดเมียมในดินนาได้มากขึ้น จึงทำให้ลดการสะสมแคดเมียมไว้ในลำต้น ใบ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมล็ดข้าว ทั้งนี้พบการสะสมแคดเมียมในราก > ลำต้น > ใบ > เมล็ดข้าว

1. การเตรียมตัวอย่างดินนา (Paddy Soil Sample Preparation)

2 การเตรียมตัวอย่างสารปรับปรุงดิน (Soil amendment preparation)

 

3. การเตรียมหน่วยทดลอง (Treatment unit)

 

4. การเตรียมตัวอย่างต้นกล้าข้าว (Seedling Preparation)

 

5. การทดลอง (Testing period)

 


© 2024 Faculty of Environment and Resource Studies, Mahidol University . All Rights Reserved.